Fresh From The Farm Lifestyle ร้านค้าออนไลน์ VS กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19

ร้านค้าออนไลน์ VS กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19


ชิปปิ้งจากจีน

อย่างที่ทราบกันดีว่า ในสถานการณ์โควิด19นั้นธุรกิจที่ได้รับผลกระทบที่สุด ก็คือ ธุรกิจที่นำเข้าสินค้าจากจีนผ่านชิปปิ้งจากจีน เพราะธุรกิจที่นำเข้าสินค้าจากจีนผ่านชิปปิ้งจากจีนนั้นจำเป็นต้องใช้ขนส่งทางเรือ แต่เมื่อเกิดสถานการณ์โควิด19ขึ้นมา จึงทำให้ไม่สามารถใช้ขนส่ง หรือชิปปิ้งจากจีนได้นั่นเอง แต่ถึงกระนั้น หากคุณรู้จักวิธีรับมือกับเจ้าโควิด19นี้ คุณก็จะไม่ต้องมีบาดแผลจากธุรกิจมากนั่นเอง และบทความนี้เราจึงมีกลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19 มาฝาก แต่กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19 จะมีอะไรบ้างนั้น ต้องตามมาดูกันเลย

ร้านค้าออนไลน์ VS กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19

  • กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19 คือ เน้นการขายออนไลน์และเพิ่มการมีส่วนร่วมของลูกค้า จากตัวอย่างของจีนพบว่า 80% ของผู้บริโภคหันมาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคผ่านช่องทางออนไลน์มากขึ้น โดยเฉพาะในแพลตฟอร์ม JD.com มีรายงานว่าการระบาดของ Covid-19 ส่งผลให้ยอดขายสินค้าอุปโภคบริโภคบนช่องทางออนไลน์เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด ดังนั้น ผู้ประกอบการที่โดยปกติไม่ได้มีช่องทางการขายผ่านช่องทางออนไลน์อาจต้องเริ่มหาลู่ทางในการขายสินค้าออนไลน์มากขึ้น ส่วนผู้ที่ขายสินค้าออนไลน์อยู่แล้ว อาจต้องเตรียมรับมือกับการเพิ่มขึ้นของยอดขายอย่างฉับพลัน โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าจำเป็น รวมทั้งทำการตลาดผ่านช่องทางออนไลน์หรือนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยสร้างประสบการณ์การช็อปปิ้งและ Engagement ให้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดส่งสินค้า เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
  • กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19 คือ ความปลอดภัยของผู้บริโภคและพนักงาน เน้นการปรับปรุงการบริการให้เหมาะกับสถานการณ์ เพื่อแสดงออกถึงความเอาใจใส่และห่วงใยต่อทั้งผู้บริโภคและพนักงาน โดยอาจปรับเวลาทำการของร้านค้า การจัดให้เว้นระยะห่างทางสังคม รวมถึงให้บริการเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ เป็นต้น เพื่อลดความเสี่ยงในการสัมผัสเชื้อ รวมทั้งเพิ่มความเชื่อมั่นและความประทับใจจากผู้บริโภค
  • กลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19 คือ เตรียมความพร้อมให้บริการหลังสถานการณ์คลี่คลาย ผู้ประกอบการควรเตรียมความพร้อมด้านการสต็อกสินค้าและ Supply Chain เพื่อตอบสนองความต้องการที่จะกลับมาฟื้นตัวภายหลังวิกฤต

และกลยุทธ์การรับมือกับ Covid-19 กลยุทธ์สุดท้าย คือ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการสินค้าและโลจิสติกส์ จากผลสำรวจของ Nielsen พบว่าปัญหาสินค้าคงคลังไม่เพียงพอ มาจากการบริหารจัดการด้าน Supply Chain และกำลังในการจัดส่งสินค้าขาดแคลน ซึ่งเป็นปัญหาหลักของผู้ประกอบการค้าปลีกในช่วง Covid-19 นั่นเอง